สะเต็มศึกษากับการแก้ปัญหาเรื่องความน่าจะเป็น

ลักษณะของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาตามแนวทางของสะเต็มศึกษานี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชั้นเรียนคณิตศาสตร์เรื่องความน่าจะเป็นได้  จากการเปิดโอกาสให้นักเรียนหาวิธีการแก้ปัญหาเพื่อการตัดสินใจ โดยนำหลักการของความน่าจะเป็นมาใช้ส่งเสริมให้เกิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง  บทความนี้จะแสดงตัวอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องความน่าจะเป็น ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ประยุกต์เอาแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยการใช้ปัญหานำตามแบบสะเต็มศึกษาจำนวนสองกิจกรรม ซึ่งล้วนเป็นกิจกรรมที่นักเรียนจะได้เผชิญปัญหาในสถานการณ์จริง  รวมทั้งได้ลงมือปฏิบัติในการทำกิจกรรมอย่างมีส่วนร่วม     บทความโดย : ดร.อลงกต ใหม่ด้วง นักวิชาการ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ สสวท.

Read more

เชื่อมโยงความคิดคณิตสะเต็ม

การเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา คือการเชื่อมโยงความรู้ระหว่างวิชาวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์  เทคโนโลยี และกระบวนการออกแบบทางวิศวกรรมเข้าด้วยกัน  เพื่อนำไปใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน และในโลกของการทำงาน  บทความนี้จะแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิชาคณิตศาสตร์ กับวิชาวิทยาศาสตร์  เทคโนโลยี และการออกแบบทางวิศวกรรม ว่ามีการเชื่อมโยงกันอย่างไร  และเป็นการแสดงตัวอย่างของการนำความรู้วิชาคณิตศาสตร์ไปใช้ในกระบวนการต่าง

Read more

สนุกกับความน่าจะเป็น: เรียน ๆ เล่น ๆ อย่างสะเต็มศึกษา

แนวคิดหลักอย่างหนึ่งของการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา คือการมุ่งเน้นการบูรณาการความรู้ต่างสาขาวิชาทั้ง S-T-E-M  เพื่อช่วยในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง  แต่การจัดการเรียนรู้ในแต่ละสาขาวิชาก็สามารถนำแนวคิดของสะเต็มศึกษามาปรับใช้ได้  โดยไม่จำเป็นต้องบูรณาการกับวิชาอื่นเสมอไป ดังตัวอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาเรื่องความน่าจะเป็นของบทความต่อไปนี้   บทความโดย : ดร.อลงกต ใหม่ด้วง นักวิชาการ สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษาตอนต้น สสวท.

Read more